• Courses
    Introduction LearnPress – LMS plugin

    Introduction LearnPress – LMS plugin

    Free
    อ่านเพิ่มเติม
  • Features
    • Membership
    • Portfolio
    • About Us
    • FAQs
    • Sidebar Shop
    • 404 Page
  • Events
  • Gallery
  • Blog
  • Contact
  • Shop
    มีคำถามเกี่ยวกับ odoo ?
    (063) 5525296
    info@odoothaidev.com
    Login
    Odoothaidev - We are Odoo professional in ThailandOdoothaidev - We are Odoo professional in Thailand
    • Courses
      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Free
      อ่านเพิ่มเติม
    • Features
      • Membership
      • Portfolio
      • About Us
      • FAQs
      • Sidebar Shop
      • 404 Page
    • Events
    • Gallery
    • Blog
    • Contact
    • Shop

      Linux

      • บ้าน
      • บล็อก
      • Linux
      • รีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server

      รีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server

      • โพสโดย admin
      • หมวดหมู่ Linux, Ubuntu
      • วันที่ กรกฎาคม 15, 2019
      • ความคิดเห็น 0 ความคิดเห็น

      2 ปีมีหน Ubuntu ได้ออกเวอร์ชันล่าสุด 16.04 ซึ่งเป็นเวอร์ชัน LTS (Long-term support) ที่ทาง Ubuntu จะสนับสนุนการอัพเดตปรับปรุงซอฟต์แวร์เป็นระยะเวลานานกว่าเวอร์ชันปกติ (5 ปี) ทำให้เหมาะสมกับการนำไปติดตั้งใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์ในการทำงานจริง (Production)

      ลองมาดูรีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 เวอร์ชัน Server กัน โดยจะติดตั้ง LAMP server

      ดาวน์โหลดไฟล์ ISO

      เข้าเว็บไซต์ www.ubuntu.com เพื่อดาวน์โหลด

      01-Ubuntu-Web-Site

      เลือกเวอร์ชันที่เป็น Ubuntu Server กดปุ่ม Download

      02-Download-Ubuntu-Server

      ตัวอย่างไฟล์ iso ที่ดาวน์โหลดได้

      [admin@mac iso]$ ls -l ubuntu-16.04-server-amd64.iso
      -rw-r--r-- 1 admin staff 686817280 Apr 22 08:58 ubuntu-16.04-server-amd64.iso

      เพื่อให้แน่ใจว่าดาวน์โหลดได้ถูกต้องครบถ้วน แนะนำให้ตรวจสอบ checksum ว่าตรงกับค่าที่แสดงบนเว็บ

      http://releases.ubuntu.com/16.04/MD5SUMS

      เช่นตรวจสอบโดยใช้ md5sum

      [admin@mac iso]$ md5 ubuntu-16.04-server-amd64.iso
      MD5 (ubuntu-16.04-server-amd64.iso) = 23e97cd5d4145d4105fbf29878534049

      ถ้าตรงกันแสดงว่าไฟล์ iso ที่เราดาวน์โหลดมาถูกต้อง ครบถ้วน สามารถนำไปใช้บู๊ตติดตั้งได้

      บู๊ตติดตั้ง UBUNTU 16.04 SERVER

      หน้าจอแรกของการติดตั้งเป็นการเลือกภาษา (Language)

      A1-Language-Selection

      ตัวอย่างหน้าจอการติดตั้งเมื่อเลือกภาษาเป็น Thai

      A01-thai-menu

      ในที่นี้ขอเลือก English

      หน้าจอเมนูเริ่มการติดตั้ง

      เลือก Install Ubuntu Server

      A2-Menu

      หน้าจอเลือกภาษา

      เลือก English – English

      A3-Select-a-Language

      เลือกสถานที่อยู่ของคุณ สำหรับใช้คอนฟิก Timezone

      สำหรับประเทศไทย เลือก Other -> Asia -> Thailand

      A4-Select-Location

      เลือกภาษาที่ใช้แสดงผล (locales)

      เลือก United States – en_US.UTF-8

      A5-Configure-locales

      คอนฟิกคีย์บอร์ด

      เลือก No เพื่อไม่ต้อง Detect keyboard layout

      A6-Configure-the-Keyboard

      เลือก Layout ของคีย์บอร์ด

      ลองเลือก Thai ดู

      A7-Configure-Keyboard

      A8-Configure-Thai-Keyboard

      เลือกปุ่มในการสลับภาษา

      เลือก “Alt+Shift”

      A9-Configure-toggle

      หากเครื่องที่ติดตั้งมีหลายเน็ตเวิร์คพอร์ต จะมีหน้าจอให้เลือกพอร์ตที่ใช้

      A11-select-primary-network

      หน้าจอคอนฟิกชื่อเครื่อง Hostname

      ใส่ชื่อเครื่องที่ต้องการ

      A12-Configure-hostname

      หน้าจอสร้างผู้ใช้งาน

      ระบุ Full name, Username, Password สำหรับผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่ม

      โดยผู้ใช้งานที่สร้างนี้จะมีสามารถใช้ sudo เพื่อรันคำสั่ง root ได้

      A13-new-user

      A15-password

      a16-encrypt-home

      หน้าจอแสดง Timezone ที่ได้จากการเลือกสถานที่ (location) ถ้าถูกต้องก็ตอบ Yes

      A19-timezone

      การแบ่ง partition ของดิสก์ ในเบื้องต้นแนะนำให้เลือกดีฟอลต์

      A20-disk-partition

      A21-write-changes

      หน้าจอคอนฟิก proxy สำหรับใช้ในคำสั่ง package manager เพื่อให้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

      ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องระบุ กด Continue ต่อไปได้เลย

      A24-http-proxy

      หน้าจอคอนฟิก tasksel ว่าจะตั้งให้มีการอัพเดตโปรแกรมโดยอัตโนมัติไหม

      ในที่นี้ขอเลือก No automatic updates

      A26-configure-update

      เลือกชุดโปรแกรมที่จะติดตั้ง

      ในที่นี้ขอเลือก LAMP server, standard system utilities, OpenSSH server

      A27-software-selection

      ถ้าเลือกติดตั้ง LAMP server จะมี MySQL ติดตั้งมาด้วย จะมีหน้าจอให้ตั้งรหัสผ่านของ root ของ MySQL

      A28-configure-mysql-root

      หน้าจอยืนยันการติดตั้ง grub ลงใน master boot record

      A29-grub

      หน้าจอแสดงการติดตั้งสิ้นสุด

      กด Continue เพื่อรีบู๊ตเครื่อง

      A30-finish

       

      บู๊ตเครื่องหลังการติดตั้ง

      หน้าจอบู๊ตเครื่อง grub

      B01-boot-menu

      ตัวอย่างข้อความตอนบู๊ตเครื่อง

      B02-booting-screen

      หน้าจอ login

      B03-login-prompt

      ตัวอย่างหน้าจอการ login ครั้งแรก

      B04-first-logged

      พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ในการติดตั้งจะใช้ประมาณ 1.6 GB (เลือกติดตั้ง LAMP server, standard system utilities, OpenSSH server)

      alice@ubuntu:~$ df -h
      Filesystem                   Size  Used Avail Use% Mounted on
      udev                         982M     0  982M   0% /dev
      tmpfs                        201M  3.3M  197M   2% /run
      /dev/mapper/ubuntu--vg-root   35G  1.6G   31G   5% /
      tmpfs                       1001M     0 1001M   0% /dev/shm
      tmpfs                        5.0M     0  5.0M   0% /run/lock
      tmpfs                       1001M     0 1001M   0% /sys/fs/cgroup
      /dev/sda1                    472M   55M  393M  13% /boot
      tmpfs                        201M     0  201M   0% /run/user/1000
      

      Ubuntu 16.04 ใช้ Kernel 4.4.0

      alice@ubuntu:~$ uname -a
      Linux ubuntu 4.4.0-21-generic #37-Ubuntu SMP Mon Apr 18 18:33:37 UTC 2016 x86_64 x86_64 x86_64 GNU/Linux

      ตัวอย่างการเรียกใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ติดตั้งมาโดยดีฟอลต์

      C01-Apache2-Ubuntu-Default-Page

      สร้างไฟล์ php เพื่อแสดงค่าจาก phpinfo()

      alice@ubuntu:~$ sudo vi /var/www/html/test.php
      <?php
      
      phpinfo();

      ตัวอย่างหน้าจอเว็บแสดงผลลัพธ์จาก phpinfo()

      C02-PHP-Version-7

      เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ติดตั้งมาในชุด LAMP คือ Apache 2.4.18

      alice@ubuntu:~$ apache2 -v
      Server version: Apache/2.4.18 (Ubuntu)
      Server built: 2016-04-15T18:00:57
      alice@ubuntu:~$

      เซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูลเป็น MySQL 5.7.11

      alice@ubuntu:~$ mysql -V
      mysql Ver 14.14 Distrib 5.7.11, for Linux (x86_64) using EditLine wrapper

      ส่วน PHP เป็นเวอร์ชัน 7

      alice@ubuntu:~$ php -v
      PHP 7.0.4-7ubuntu2 (cli) ( NTS )
      Copyright (c) 1997-2016 The PHP Group
      Zend Engine v3.0.0, Copyright (c) 1998-2016 Zend Technologies
      with Zend OPcache v7.0.6-dev, Copyright (c) 1999-2016, by Zend Technologies

      รายละเอียดอื่นๆ สามารถดูที่ได้ใน ReleaseNotes https://wiki.ubuntu.com/XenialXerus/ReleaseNotes

      ข้อมูลอ้างอิง

      • http://www.ubuntu.com/

      แท็ก:linux, ubuntu

      • แบ่งปัน:
      อวตารของผู้แต่ง
      admin

      โพสต์ก่อนหน้า

      How to download and install prebuilt OpenJDK packages
      กรกฎาคม 15, 2019

      โพสต์ถัดไป

      การติดตั้ง PostgreSQL ใน Window
      กรกฎาคม 15, 2019

      ทิ้งคำตอบไว้ ยกเลิกการตอบ

      อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

      Search

      หมวดหมู่

      • Accounting
      • Adobe XD
      • API
      • Blog
      • Business
      • Buttons
      • CRM
      • Custom Fields
      • Design / Branding
      • Django
      • ERP
      • Express
      • Form View
      • Frontend
      • Grant Chart
      • Header
      • iReport
      • Jasper Server & Server
      • Jaspersoft Studio
      • Java
      • JSON-RPC
      • Linux
      • MRP
      • NodeJS
      • Odoo 10
      • Odoo 12 Module
      • Odoo 13
      • Odoo 8
      • Odoo 9
      • Odoo API
      • Odoo Developer
      • Odoo Ebook
      • Odoo ERP
      • Odoo Event
      • Odoo Report
      • Open-office
      • OpenERP 7.0
      • PhantomJS
      • Postgres SQL
      • Programming Language
      • Project Management
      • Python
      • Qweb
      • Reporting ระบบรายงาน
      • RML Report
      • Search View and Filters
      • Statusbar
      • Ubuntu
      • Uncategorized
      • Voip & Call Center
      • Warehouse Management
      • WMS
      • XML-RPC
      • การ Implement
      • การเก็บข้อมูล Pre-Requirement
      • การเตรียมตัวเพื่อใช้งาน erp
      • ธีมเว็บไซต์ Odoo
      • ธุรกิจบริการ
      • ธุรกิจประเภทจัดอบรมสัมมนา
      • ธุรกิจสิ่งพิมพ์
      • ประเภทธุรกิจที่เหมาะกับ Odoo
      • ระบบบัญชี
      • ระบบเคลม

      หลักสูตรล่าสุด

      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Free
      From Zero to Hero with Nodejs

      From Zero to Hero with Nodejs

      Free
      Learn Python – Interactive Python

      Learn Python – Interactive Python

      $69.00
      (00) 123 456 789
      hello@eduma.com
      Facebook
      Twitter
      Google-plus
      Pinterest

      Education WordPress Theme by ThimPress. Powered by WordPress.

      • Privacy
      • Terms
      • Sitemap
      • Purchase

      เข้าสู่ระบบด้วยบัญชีไซต์ของคุณ

      ลืมรหัสผ่าน?